แบบประกันสุขภาพอะไรบ้างที่ใช้สิทธิลดหย่อนภาษีไม่ได้ เพราะอะไร

724 จำนวนผู้เข้าชม  | 

ประกันสุขภาพ

การลดหย่อนภาษีด้วยประกันสุขภาพ

ประกันสุขภาพลดหย่อนภาษีได้สูงสุดปีละ 25,000 บาท ซึ่งการลดหย่อนนี้จะรวมกับประกันชีวิตที่เป็นแบบ 100,000 บาทแรก แต่จะมีเงื่อนไขอย่างไร จะรู้ได้ยังไงว่าแบบไหนที่ใช้ลดหย่อนได้ แบบไหนใช้ลดหย่อนไม่ได้ แบบประกันโรคร้ายแรงใช้ลดหย่อนได้หรือไม่ วางแผนดอทคอมมีคำตอบ


ประกันสุขภาพที่ใช้สิทธิลดหย่อนได้ต้องมีเงื่อนไขอะไรบ้าง?

  1. การประกันที่ให้ความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วยหรือเกิดการบาดเจ็บ การชดเชยการทุพพลภาพ และการสูญเสียอวัยวะ เนื่องจากเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บ 
  2. การประกันอุบัติเหตุเฉพาะที่ให้ความคุ้มครองเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลการทุพพลภาพ การสูญเสียอวัยวะ และการแตกหักของกระดูก
  3. การประกันภัยโรคร้ายแรง (Critical IIInesses) เช่น ประกันโรคมะเร็ง
  4. การประกันภัยการดูแลระยะยาว (Long Term Care)
    **โดยบริษัทประกันที่คุณซื้อต้องประกอบกิจการในประเทศไทยเท่านั้น**

 

หมายเหตุ
เนื่องจากวางแผนดอทคอมเป็นตัวแทนของเมืองไทยประกันชีวิต จึงขอกล่าวถึงชื่อแบบประกันของเมืองไทยประกันชีวิต

 

 ลดหย่อนภาษี

แบบประกันที่ไม่สามารถใช้สิทธิลดหย่อนภาษีด้านสุขภาพ ใน 25,000 บาท

1. สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพวงเงินแน่นอน (HB) หรือที่เรียกว่า ชดเชยรายได้ หรือชดเชยรายวัน
2. สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพเด็กเล็ก (0 - 5ปี) 
3. สัญญาเพิ่มเดิมการยกเว้นการชำระเบี้ยประกันภัยของผู้เอาประกันภัย (WP)
4. สัญญาเพิ่มเติมการยกเว้นการชำระเบี้ยประกันภัยของผู้เอาประกันภัย (PB) 

===================
สอบถามเบี้ยอายุเฉพาะคุณได้ที่ ณภัชชา พงศ์วัฒนกิจกุล ตัวแทนประกันชีวิตตำแหน่งผู้จัดการ คุณวุฒิ MDRT2021-2024
ให้วางแผนดอทคอมดูแลเรื่องประกันให้คุณสิคะ เรามีบริการหลังการขายตลอดอายุสัญญา

ฟรี…บริการออกแบบประกันของคุณความความต้องการ เพียงแจ้งชื่อ อายุ เพศ แบบประกัน สามารถกำหนดเบี้ยที่จะจ่ายและเงินที่จะรับแต่ละปี ส่งมาที่
แอดไลน์ : 0849290088 หรือคลิก https://line.me/ti/p/S4ZgdTCQoS       
===================  

ด้านล่างนี้จะเป็นแบบประกันที่ใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ โดยเป็นหมวดประกันสุขภาพ ใช้สิทธิลดหย่อนได้สูงสุด 25,000 บาท

 ลดหย่อนภาษี

แบบประกันที่ใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้  
แบบที่ 1 การรักษาพยาบาลอันเกิดจากทุพพลภาพ

1. การประกันภัยทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร (TPD)
2. การประกันภัยทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร (TPD) ตะกาฟุล
3. การประกันภัยทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร (TPD) ที่ทำคู่กับประกันชีวิตควบการลงทุน เช่น ในยูนิตลิ้งค์

 

ลดหย่อนภาษี

แบบประกันที่ใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้  
แบบที่ 2 การรักษาพยาบาลอันเกิดจากการเจ็บป่วย

1. การประกันภัยสุขภาพ แบบแยกค่าใช้จ่าย (H&S)
2. การประกันภัยสุขภาพ แบบแยกค่าใช้จ่าย (H&S) ตะกาฟุล
3. การประกันภัยสุขภาพ แบบแยกค่าใช้จ่าย (H&S) ควบการลงทุน
4. การประกันภัยสุขภาพ แบบวีไอพี
5. การประกันภัยสุขภาพ แบบเหมาจ่าย
6. การประกันภัยสุขภาพแบบเอ็กซ์ตร้า แคร์
7. การประกันภัยสุขภาพ แบบได้มอนด์แคร์
8. การประกันภัยสุขภาพ แบบพรีเมี่ยม เฮลท์แคร์
9. สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ข้าราชการสุขสันต์
10. สัญญาเพิ่มเติม คุ้มครองค่าใช้จ่ายในการศัลยกรรม
11.บันทึกสลักหลังการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก (OPD)
12.การประกันภัยสุขภาพ แบบสมาร์ทเฮลห์ (มีเงื่อนไข)

 

ลดหย่อนภาษี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบประกันที่ใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้  
แบบที่ 3 การประกันภัยโรคร้ายแรง

1. มัลติเพิล ซีไอ
2. เพียว แคนเซอร์
3. ซีไอ 31 ควบการลงทุน
4. คุ้มครองโรคเบาหวาน
5. แฮปปี้ เลดี้
6. แฮปปี้ เลดี้ พลัส
7. แฮปปี้ เลดี้ (กบข.)
8. แฮปปี้ เลดี้ พลัส (กบข.)
9. แบบประกันเมืองไทย ไลฟ์ไทม์ โพรเทคชั่น
10. ซี่ไอ เพอร์เฟค แคร์ ( มีเงื่อนไข)
11. โรคร้ายแรง แฮปปี้ ลีฟวิ่ง ( มีเงื่อนไข)
12. โรคร้ายแรง แฮปปี้ ลีฟวิ่ง (กบข.) (มีเงื่อนไข)
13. โรคร้ายแรง แฮปปี้ ลีฟรั่ง ตะกาฟุล (มีเงื่อนไข)

 

ลดหย่อนภาษี

แบบประกันที่ใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้  
แบบที่ 4 การรักษาพยาบาลอันเกิดจากอุบัติเหตุ

1. การประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคล (P.A.) (มีเงื่อนไข)
2. การประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคล (P.A.) ตะกาฟุล (มีเงื่อนไข)
3. สัญญาเพิ่มเติมอุบัติเหตุส่วนบุคคล สบายใจ ( มีเงื่อนไข)
บันทึกสลักหลังการประกันภัยจลาจลฯ (RCC) (มีเงื่อนไข)
5. การประกันภัยอุบัติเหตุ ก ( มีเงื่อนไข)
6. การประกันภัยอุบัติเหตุ ก (กบข.) (มีเงื่อนไข)
7. การประกันภัยอุบัติเหตุ ข (มีเงื่อนไข)
8. การประกันภัยอุบัติเหตุ ค (มีเงื่อนไข)
9. PA Stand Alone
9.1 Easy PA (มีเงื่อนไข)
9.2 Easy PA Plus (มีเงื่อนไข)
9.3 PA Broken Bone และ PA รักพ่อ (มีเงื่อนไข)
9.4 Executive PA (มีเงื่อนไข)
9.5 PA Extreme (มีเงื่อนไข)
9.6 PA Happy Mom (มีเงื่อนไข)
9.7 PA ยิ้ม (มีเงื่อนไข)
9.8 Classic PA (มีเงื่อนไข)
9.9 Standard PA (Package) (มีเงื่อนไข)
9.10 Standard PA (มีเงื่อนไข)
9.11 PA Return Bonus (มีเงื่อนไข)
9.12 PA Family (มีเงื่อนไข)
9.13 PA ตะกาฟุล ( มีเงื่อนไข)
9.14 PA อุ่นใจรักษ์ ( มีเงื่อนไข)
9.15 PA Hospital Care (มีเงื่อนไข)
9.16 PA Return Cash ( มีเงื่อนไข)

ลดหย่อนภาษี

 

สอบถาม เช็คเบี้ย หรือปรึกษาการวางแผนประกัน
ณภัชชา พงศ์วัฒนกิจกุล, CFP®, MDRT2021-2024
Tel&Line : 0849290088 หรือคลิกที่นี่ https://line.me/ti/p/S4ZgdTCQoS     

* ตัวแทนประกันชีวิต ตำแหน่งผู้จัดการขาย AAA เมืองไทยประกันชีวิต เลขที่ใบอนุญาต 5401078254
* นักวางแผนการเงิน คุณวุฒิ CFP (Certified Financial Planner) เลขที่ CFPTH190000029
* ผู้วางแผนการลงทุน IP License และ ผู้แนะนำการลงทุน IC License เลขที่ 086641

Facebook คลิก : วางแผนดอทคอม
Tiktok คลิก : www.tiktok.com/@wangpaan.com         

อย่าลืมกด Like, Follow และ Subscribe จะได้ไม่พลาดข่าวสารสำคัญจากพี่แผนนะครับ...  

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้