ประกันบำนาญลดหย่อนภาษี แบบไหนดี

Last updated: 21 พ.ย. 2564  |  2943 จำนวนผู้เข้าชม  | 

ประกันบำนาญ

ระหว่างประกันบำนาญ แบบจ่ายน้อยแล้วรับเงินเร็ว กับแบบผ่อนยาวๆ รับช้าแต่รับมาก อย่างไหนดีกว่ากัน เปรียบเทียบทั้งในแง่การลดหย่อนภาษี 2 แสนหลัง และการรับเงินบำนาญ รวมทั้งความคุ้มครองชีวิตและผลตอบแทนรวมทั้งสัญญา

บำนาญลดหย่อนได้ 8560 จี15 VS 8555 จี20
(เปรียบเทียบบำนาญลดหย่อนได้ เริ่มรับบำนาญ 55 ปี VS 60 ปี)
แบบประกันเมืองไทย 8560 จี 15 กับแบบ 8555 จี 20 เป็นแบบประกันที่ควบทั้งการประกันชีวิต การลดหย่อนภาษี และการเตรียมเงินไว้ใช้ในวัยเกษียณ แต่แบบไหนที่เหมาะกับคุณ เราจะเปรียบเทียบเงื่อนไขและคุณสมบัติต่างๆ ให้พิจารณาทีละประเด็นนะคะ

จุดเด่น 8560 จี 15
ประกันบำนาญ
จุดเด่น 8555 จี 20                                               
ประกันบำนาญ                   
ผลประโยชน์ความคุ้มครอง 8560 จี 15  
ประกันบำนาญ
ผลประโยชน์ความคุ้มครอง 8555 จี 20
 ประกันบำนาญ
ตัวอย่างที่ 1

ผู้เอาประกันเป็นผู้หญิงอายุ 37 ปี ที่ต้องการลดหย่อนภาษีในจำนวนเงินเบี้ยประกัน 80,000 บาทต่อปี 

ประกันบำนาญ
ผลประโยชน์ 8560 จี 15
อายุ 37 ถึง 59 ชำระเบี้ย 80,000 ต่อปี รวมเงิน 1,840,000  
อายุ 60 ถึง 85 รับบำนาญ 131,350 ต่อปี รวมเงิน 3,415,100
รวมผลประโยชน์เมื่อครบสัญญา 1,575,100
รับรองการจ่ายเงินบำนาญขั้นต่ำ 15 ปี
จำนวนเงินเอาประกันภัย 1,094,540.98 บาท
ผลประโยชน์ 8555 จี 20
อายุ 37 ถึง 54 ชำระเบี้ย 80,000 ต่อปี รวมเงิน 1,440,000
อายุ 55 ถึง 85 รับบำนาญ 84,008 ต่อปี รวมเงิน 2,604,248
รวมผลประโยชน์เมื่อครบสัญญา 1,164,248
รับรองการจ่ายเงินบำนาญขั้นต่ำ 20 ปี
จำนวนเงินเอาประกันภัย 350,032.82 บาท

ตัวอย่างที่ 2
ผู้เอาประกันเป็นผู้หญิงอายุ 48 ปี ที่ต้องการบำนาญปีละ 24% ของทุนประกัน
เบี้ยประกัน 71,121 บาทต่อปี
สามารถนำเบี้ยประกันนี้ไปลดหย่อนภาษี (แบบลดหย่อน 200,000 หลัง) ได้ด้วยค่ะ

ประกันบำนาญ
โดยเบี้ยประกันและความคุ้มครองจะแตกต่างกันในแต่ละช่วงอายุและเพศที่ต่างกัน หากต้องการให้คำนวณเบี้ยและเงินบำนาญของอายุอื่นๆ สามารถแจ้งได้ตามช่องทางด้านล่างนี้นะคะ

หากต้องการวางแผนเพื่อประหยัดภาษีด้วยประกันชีวิต
ปรึกษา ณภัชชา ได้ที่ ไลน์ : 0849290088
ประกันบำนาญ
ติดต่อสอบถาม เช็คเบี้ย หรือปรึกษาการวางแผนประกัน
ณภัชชา พงศ์วัฒนกิจกุล, CFP® , MDRT
นักวางแผนการเงิน คุณวุฒิ CFP (Certified Financial Planner)
ผู้วางแผนการลงทุน (IP License) และ ผู้แนะนำการลงทุน (IC License)
ผู้จัดการขาย Triple A  บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)

หากใครมีข้อสงสัย ต้องการสอบถามหรือปรึกษาเพิ่มเติม
ติดต่อ และ ติดตามอัพเดตเรื่องน่ารู้ทางการเงินกับพี่แผน ได้ทาง
วางแผน.com (wangpaan.com)
Line: @Wangpaan
Facebook: Wangpaan
Twitter: @Wangpaan
Youtube: Wangpaan

อย่าลืมกด Like, Follow และ Subscript จะได้ไม่พลาดข่าวสารสำคัญจากพี่แผนนะครับ

บทความแนะนำ

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้